Thursday, January 31, 2013
Tuesday, January 29, 2013
Saturday, January 26, 2013
มะเขือ มะละกอ น้ำเต่า กระเจี๊ยบ Papaya okra eggplant squash
มะละกอที่สวน
กระเจี๊ยบมอญ มะเขือเปราะ
กระเจี๊ยบเขียวคนญี่ปุ่นชอบกินม
แอง
กระเจี๊ยบเขียวนั้นเป็นพืชที่มี
ประเทศซูดานกระเจี๊ยบเขียว เป็นพืชที่มีคุณสมบัติในการช่วย รักษาโรค
กระเพาะอาหารและลำไส้ เพราะในฝักกระเจี๊ยบนั้นมีสารเม ือกพวกเพ็กติน
(Pectin) และกัม (Gum) ช่วยเคลือบแผลในกระเพาะอาหารและ ลำไส้ไม่ให้
ลุกลาม รักษาความดันให้เป็นปกติ เป็นยาบำรุงสมอง มีสรรพคุณเป็นยาระบาย
และสามารถแ ก้โรคพยาธิตัวจี๊ดได้ด้วย แต่ต้องรับประทานติดต่อกันเป็นเ วลา
อย่างน้อย 15 วัน
ข้อมูล wikipedia.org
รูป luckyfrog.com
ข้อมูล wikipedia.org
รูป luckyfrog.com
Thursday, January 24, 2013
แกนผักคอสหลังกินเสร็จ Cos axis hydroponics
แกนผักคอส จากผักขนาดต้น 150 กรัม มีขนาดเล็กมาก แสดงว่า
น้ำหนักมาจากใบไม่ได้มากจากแกนคอส ซึ่งบางที่ไปดูตามห้าง เห็นเขาขายผักคอสแกนใหญ่มากๆ เลยสงสัยว่าชั่ง กิโลกรัมมา มันมา
จากแกนผักคอส เหรอเปล่า รึเขานิยมกินแกนคอสกันเหรอ ????
Wednesday, January 23, 2013
คอสไม่เคลือบ cos not coated seed
เพาะในน้ำเปล่า 3 วัน ให้งอก
ถังสารละลายเติมน้ำสารละลายทุกวันเพื่อให้ผักได้น้ำใหม่โดยไม่วัด
ค่า ec หรือ ph เลย
ผักมีอายุรวม 17 วันก่อนลงโต๊ใหญ่
ที่ฟาร์มใช้เมล็ดเคลือบเป็นหลักนะครับ เพราะรูปทรงได้มาตราฐาน
คุณภาพผักจะเท่ากันทุกต้น การเพาะจะง่ายกว่าเมล็ดไม่เคลือบด้วย
Tuesday, January 22, 2013
เทคนิคเพาะเมล็ดไม่เคลือบ Seed on sponge techniques.
มีคนถามมาว่าเพาะเมล็ดยังไง
กดลงไปไม่ลึก ให้เอาด้านแหลมลงด้านล่าง พอ งอกออกมาให้ใบโดนแดด
เพราะรากจะออกจากด้านแหลม อย่าให้ฟองน้ำแห้ง จนกว่ารากจะทะลุด้านล่าง
ฟองน้ำไม่ควรหนาเกิน 1 นิ้ว
ถ้าไม่มีเวลาก็ไม่ต้องให้ตั้งตามภาพก้ได้นะ แค่อย่ากดลึก เมล็ดจะได้หาทาง
ออกจากฟองน้ำได้ง่าย
ถ้าไม่มีเวลาก็ไม่ต้องให้ตั้งตามภาพก้ได้นะ แค่อย่ากดลึก เมล็ดจะได้หาทาง
ออกจากฟองน้ำได้ง่าย
ช่วงอายุคอส Span of life ,cos the age hydroponics
ช่วงอนุบาลเป็นช่วงที่สำคัญมากสำหรับการปลูก เมื่อกล้าแข็งแรง
ทำให้ผักโตอย่างรวดเร็ว และได้น้ำหนักดี ช่วงอายุของ คอสจะสั้น
กว่าผักประเภทอื่น โดยอายุจะอยู่ในช่วง 30-37 แล้วแต่คนปลูก
ทำให้ผักโตอย่างรวดเร็ว และได้น้ำหนักดี ช่วงอายุของ คอสจะสั้น
กว่าผักประเภทอื่น โดยอายุจะอยู่ในช่วง 30-37 แล้วแต่คนปลูก
อายุ 3 วัน งอกใบเขียว ลงน้ำปุ๋ยเลย ระวังเรื่องจะทำให้รากเสีย
อายุ 17 วันย้ายลงโต๊ใหญ่ได้เลย แสงได้เต็มที่
Monday, January 21, 2013
ปัญหาการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics problems
1. ปัญหาจากแมลง หนอน เพลียไฟ
2. ปัญหาจากหน้าแล้ง
2.1 ความร้อน
2.2 น้ำเค็ม
2.3 เร่งการระบาดของแมลง
2.4 ผักไม่โต
3. ปัญหาจากระบบ เช่น ตัวรางปลูก หรือ โฟม
3.1 พลาสติกคลุมหลังคา ผิดประเภท ทำให้ผักไม่แดง
3.2 รางปลูกไม่ได้มาตรตราฐาน พังไวกว่ากำหนด
3.3 เลือกระบบปลูกไม่เหมาะสมกับผัก
4. ปัญหาจากการจัดการระบบ เช่น
4.1 คุณภาพน้ำ น้ำบาดาล , น้ำที่มีเกลือเยอะ ความสะอาด คุณภาพน้ำ
4.2 แผนการปลูกไม่เหมาะสมตามฤดกาล
4.3 ช่วงเวล่าการย้าย
4.4 จัดการแสง
4.5 จัดการปุ๋ย
4.6 ใช้เมล็ดแพงเกินไป
4.7 เมล็ดคุณภาพไม่ดี ขัดแย่งกับข้อ 4.6
5. ปัญหาสายพันธ์ผัก เช่น
5.1 ยืดเมื่อมีแสงน้อย
5.2 รูปทรง สี ไม่ตรงตามที่ตลาดต้อง
5.3 ไม่เหมาะกับสภาพอากาศฤดูกาลนั้นๆ
6. ปัญหาจากบุคลากร ผู้จัดการฟาร์ม เจ้าของฟาร์ม ลูกน้อง
6.1 ลูกน้องเพาะเมล็ดไม่ดี
6.2 เจ้าของพยายามลดต้นทุนมากเกินไป
7. ปัญหาการตลาด
7.1 เมื่อปลูกปริมาณมากต้องหาตลาดรองรับ คือ ตลาดค้าส่ง ซึงทำให้ราคาไม่แพงไม่ถึง 100
7.2 ไม่รู้ว่าจะขายไปลูกค้ากลุ่มไหน
7.3 ปลูกผักที่มีความต้องการน้อยต่อตลาด
7.4 ความต้องการของตลาดไม่แน่นอน เช่นหน้าหนาวผักจะล้น หน้าร้อนผักจะขาด
8. ปัญหาจากที่ตั้งฟาร์ม
8.1 ปัญหาการขนส่งเมื่อที่ตั้งฟาร์มอยู่ไกลจากที่ขาย ทำให้มีต้นทุนขนส่งมาก ต้องมีรถห้องเย็น
9. ปัญหาจากฤดูกาล เช่น พายุ ฝน ความร้อน
9.1 ผักเป็นโรคใบจุด เพราะความชืนสูงเพราะเป็นฤดูฝน
9.2 ปัญหาจากแสงน้อยจากเมฆ
9.3 ปัญหาจากฝนตกหนักทำให้ใบช้ำและเน่า
9.4 ลมแรง ทำลายโครงสร้างโรงเรือน หรือ พลาสติก
10. ปัญหาจากราคา และ ต้นทุน
10.1 ต้นทุนไฟฟ้า
10.2 ต้นทุ่นแรงงาน
10.3 ต้นทุ่นวัสดุ
11. ปัญหาจากลูกค้า
11.1 ปริมาณที่ลูกค้าซื้อน้อยไป
11.2 ต้องการผักที่ปลูกยาก
12. ปัญหาจากหาความรู้จากอินเตอเน็ต
12.1 ผู้เผยแพร่ความรู้ไม่ได้บอกช่วงเวลาที่ปลูก และวิธีการปลูกทั้งหมดทำให้เข้าใจว่าปลูกง่าย
12.2 ความรู้อาจจะเก่าหลายปี แล้ว ความน่าเชื่อถือไม่มี
13. ปัญหาจากผู้เยียมชม
13.1 มาเยอะเกินไป จะขายผักนะครับ ไม่ได้สวนสนุก :P
14. ปัญหาจากเครื่องมือวัด
14.1 เครื่องมือมีราคาแพง แต่พังง่าย
15. ปัญาหาจากคุณภาพปุ๋ย
16. ปัญหาจากตัวเจ้าของฟาร์มเอง
17. ปัญหาจากการไปฝึกอบรม
17.1 ผู้สอนอาจมีความเชื่อส่วนตัว ผสมไปกับวิธีการปลูก
18. ปัญหาจาก การปลูกดีในหน้าหนาว ทำให้เข้าใจผิดว่าผักหน้าตาแบบนี้ทั้งปี
19. ปัญหาจากคุณภาพที่ปลูกไม่ตรงตามต้องการของลูกค้า
20. ชุดคิค หรือ ชุดปลูกแบบผู้เริ่มต้นไม่ได้มาตราฐาน ทำให้ปลูกไม่ได้
20.1 ราคาค่าแพงเกินจริงมากๆ
21. สวนใหญ่ พวกปลูก พวกขายอุปกรณ์ อบรม จะไม่พูดด้านลบออกมาทั้งหมด
22. ปัญหามีแต่ไม่รู้จะแก้ยังไง
ปล. เดียวมาลงเพิ่มทีหลัง //แก้ล่าสุด 24/12/56 14/12/56 13/9/56 9/11/57 31/5/58 25/8/58
2. ปัญหาจากหน้าแล้ง
2.1 ความร้อน
2.2 น้ำเค็ม
2.3 เร่งการระบาดของแมลง
2.4 ผักไม่โต
3. ปัญหาจากระบบ เช่น ตัวรางปลูก หรือ โฟม
3.1 พลาสติกคลุมหลังคา ผิดประเภท ทำให้ผักไม่แดง
3.2 รางปลูกไม่ได้มาตรตราฐาน พังไวกว่ากำหนด
3.3 เลือกระบบปลูกไม่เหมาะสมกับผัก
4. ปัญหาจากการจัดการระบบ เช่น
4.1 คุณภาพน้ำ น้ำบาดาล , น้ำที่มีเกลือเยอะ ความสะอาด คุณภาพน้ำ
4.2 แผนการปลูกไม่เหมาะสมตามฤดกาล
4.3 ช่วงเวล่าการย้าย
4.4 จัดการแสง
4.5 จัดการปุ๋ย
4.6 ใช้เมล็ดแพงเกินไป
4.7 เมล็ดคุณภาพไม่ดี ขัดแย่งกับข้อ 4.6
5. ปัญหาสายพันธ์ผัก เช่น
5.1 ยืดเมื่อมีแสงน้อย
5.2 รูปทรง สี ไม่ตรงตามที่ตลาดต้อง
5.3 ไม่เหมาะกับสภาพอากาศฤดูกาลนั้นๆ
6. ปัญหาจากบุคลากร ผู้จัดการฟาร์ม เจ้าของฟาร์ม ลูกน้อง
6.1 ลูกน้องเพาะเมล็ดไม่ดี
6.2 เจ้าของพยายามลดต้นทุนมากเกินไป
7. ปัญหาการตลาด
7.1 เมื่อปลูกปริมาณมากต้องหาตลาดรองรับ คือ ตลาดค้าส่ง ซึงทำให้ราคาไม่แพงไม่ถึง 100
7.2 ไม่รู้ว่าจะขายไปลูกค้ากลุ่มไหน
7.3 ปลูกผักที่มีความต้องการน้อยต่อตลาด
7.4 ความต้องการของตลาดไม่แน่นอน เช่นหน้าหนาวผักจะล้น หน้าร้อนผักจะขาด
8. ปัญหาจากที่ตั้งฟาร์ม
8.1 ปัญหาการขนส่งเมื่อที่ตั้งฟาร์มอยู่ไกลจากที่ขาย ทำให้มีต้นทุนขนส่งมาก ต้องมีรถห้องเย็น
9. ปัญหาจากฤดูกาล เช่น พายุ ฝน ความร้อน
9.1 ผักเป็นโรคใบจุด เพราะความชืนสูงเพราะเป็นฤดูฝน
9.2 ปัญหาจากแสงน้อยจากเมฆ
9.3 ปัญหาจากฝนตกหนักทำให้ใบช้ำและเน่า
9.4 ลมแรง ทำลายโครงสร้างโรงเรือน หรือ พลาสติก
10. ปัญหาจากราคา และ ต้นทุน
10.1 ต้นทุนไฟฟ้า
10.2 ต้นทุ่นแรงงาน
10.3 ต้นทุ่นวัสดุ
11. ปัญหาจากลูกค้า
11.1 ปริมาณที่ลูกค้าซื้อน้อยไป
11.2 ต้องการผักที่ปลูกยาก
12. ปัญหาจากหาความรู้จากอินเตอเน็ต
12.1 ผู้เผยแพร่ความรู้ไม่ได้บอกช่วงเวลาที่ปลูก และวิธีการปลูกทั้งหมดทำให้เข้าใจว่าปลูกง่าย
12.2 ความรู้อาจจะเก่าหลายปี แล้ว ความน่าเชื่อถือไม่มี
13. ปัญหาจากผู้เยียมชม
13.1 มาเยอะเกินไป จะขายผักนะครับ ไม่ได้สวนสนุก :P
14. ปัญหาจากเครื่องมือวัด
14.1 เครื่องมือมีราคาแพง แต่พังง่าย
15. ปัญาหาจากคุณภาพปุ๋ย
16. ปัญหาจากตัวเจ้าของฟาร์มเอง
17. ปัญหาจากการไปฝึกอบรม
17.1 ผู้สอนอาจมีความเชื่อส่วนตัว ผสมไปกับวิธีการปลูก
18. ปัญหาจาก การปลูกดีในหน้าหนาว ทำให้เข้าใจผิดว่าผักหน้าตาแบบนี้ทั้งปี
19. ปัญหาจากคุณภาพที่ปลูกไม่ตรงตามต้องการของลูกค้า
20. ชุดคิค หรือ ชุดปลูกแบบผู้เริ่มต้นไม่ได้มาตราฐาน ทำให้ปลูกไม่ได้
20.1 ราคาค่าแพงเกินจริงมากๆ
21. สวนใหญ่ พวกปลูก พวกขายอุปกรณ์ อบรม จะไม่พูดด้านลบออกมาทั้งหมด
22. ปัญหามีแต่ไม่รู้จะแก้ยังไง
ปล. เดียวมาลงเพิ่มทีหลัง //แก้ล่าสุด 24/12/56 14/12/56 13/9/56 9/11/57 31/5/58 25/8/58
Saturday, January 19, 2013
Green Oak กรีนโอ๊ค
Tuesday, January 15, 2013
คะน้าไฮโดร kale hydroponics
ไปไหนหมด สงสัยนกกินไปแล้ว อาจต้องหาวิธีทำให้ไม่ล้ม ต่อไปเพื่อรูปทรงที่สวยงาม
แต่เรื่องรสชาตนี้ดีมากขายได้แน่นอน
ระยะย้ายลงโต๊ะปลูกของผักไฮโดรโปนิกส์ Move across the table hydroponics
ภาพถ่ายระยะใกล้ |
Monday, January 14, 2013
สูตรปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์ (ผักไทย) DFT 2/2010 Fertilizer
E.C 2.4 -3.6
อัตรา 1:100
STOCK A 10 ลิตร
แคลเซียมไนเตรท (15-0-0) 1150 กรัม
เหล็ก ดีพี ( Fe-DTPA 7%) 20 กรัม
เหล็กเวสโก้ ( Fe-EDTA 13.2%) 40 กรัม
เหล็กอาจมีการปรับเปลี่ยนชนิดที่ใช้ตามสมควร
STOCK B 10 ลิตร
โปแตสเซียมไนเตรท ( 13-0-46) 600 กรัม
แมกนีเซียมซัลเฟต 500 กรัม
โมโนโปแตสเซียมฟอสเฟต ( 0-52-34) 150 กรัม
โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟต (12-60-0) 100กรัม
นิค-สเปรย์ 50 กรัม
แมงกานิส อีดีทีเอ ( Mn-EDTA 13 %) 10 กรัม
อัตรา 1:100
STOCK A 10 ลิตร
แคลเซียมไนเตรท (15-0-0) 1150 กรัม
เหล็ก ดีพี ( Fe-DTPA 7%) 20 กรัม
เหล็กเวสโก้ ( Fe-EDTA 13.2%) 40 กรัม
เหล็กอาจมีการปรับเปลี่ยนชนิดที่ใช้ตามสมควร
STOCK B 10 ลิตร
โปแตสเซียมไนเตรท ( 13-0-46) 600 กรัม
แมกนีเซียมซัลเฟต 500 กรัม
โมโนโปแตสเซียมฟอสเฟต ( 0-52-34) 150 กรัม
โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟต (12-60-0) 100กรัม
นิค-สเปรย์ 50 กรัม
แมงกานิส อีดีทีเอ ( Mn-EDTA 13 %) 10 กรัม
สูตรปุ๋ยปลูกคะน้าเห็ดหอมไฮโดรโพนิกส์ Kale Fertilizer
ผู้คิดสูตร ดร.ยงยุทธ ( สูตรประยุกต์)
ปุ๋ย A
แคลเซียมไนเตรท 1100 กรัม
ผสมน้ำให้ได้ปริมาตร 5 ลิตร
ปุ๋ย B
โปแตสเซียมไนเตรท 600 กรัม
แม็กนีเซียมซัลเฟต 600 กรัม
โมโนโปแตสเชียมฟอสเฟต 270 กรัม
ผสมน้ำให้ได้ปริมาตร 5 ลิตร
ปุ๋ย C
เหล็ก EDDHA 100 กรัม
เหล็ก DTPA 100 กรัม
นิกสเปรย์ 100 กรัม
แอมโมเนียมโมลิเดส 0.5 กรัม
ผสมน้ำให้ได้ปริมาตร 10 ลิตร
ปุ๋ย D
โมโนโปแดสเซียมฟอสเฟต 500 กรัม
ผสมน้ำให้ได้ปริมาตร 5 ลิตร
สรุปแบบย่อเลยนะครับ ผักต้นจะอวบได้เพราะใส่ โมโนโปแดสเซียมฟอสเฟต
อ้างอิง http://www.phutalay.com/home/?p=1258
ปุ๋ย A
แคลเซียมไนเตรท 1100 กรัม
ผสมน้ำให้ได้ปริมาตร 5 ลิตร
ปุ๋ย B
โปแตสเซียมไนเตรท 600 กรัม
แม็กนีเซียมซัลเฟต 600 กรัม
โมโนโปแตสเชียมฟอสเฟต 270 กรัม
ผสมน้ำให้ได้ปริมาตร 5 ลิตร
ปุ๋ย C
เหล็ก EDDHA 100 กรัม
เหล็ก DTPA 100 กรัม
นิกสเปรย์ 100 กรัม
แอมโมเนียมโมลิเดส 0.5 กรัม
ผสมน้ำให้ได้ปริมาตร 10 ลิตร
ปุ๋ย D
โมโนโปแดสเซียมฟอสเฟต 500 กรัม
ผสมน้ำให้ได้ปริมาตร 5 ลิตร
สรุปแบบย่อเลยนะครับ ผักต้นจะอวบได้เพราะใส่ โมโนโปแดสเซียมฟอสเฟต
อ้างอิง http://www.phutalay.com/home/?p=1258
ระบบ NFT และถ้วย Hydro Pot
ระบบ NFT เป็นระบบที่น้ำบนรางบางเพื่อให้ระบบรากได้สำผัสน้ำ และอากาศในเวลา
เดียวกันโดยไม่ต้องจัดการเรื่องระดับน้ำ เหมือน ระบบอื่น
หัวข้อเกี่ยวข้อง
ทำไมปลูกผักสลัดต้องใช้ราง Why NFT
Sunday, January 13, 2013
เพอร์ไลท์ Perlite และเวอร์มิคูไลท์ Vermiculite
Saturday, January 12, 2013
Friday, January 11, 2013
การเพาะเมล็ดในฟองน้ำ The seeds of the sponge hydroponics
การเพาะด้วยฟองน้ำเป็นที่นิยมในระบบไฮโดรโปนิกส์ เนื่องด้วยเป็นวิธีที่ประหยัด
สามารถทำได้ง่าย แต่ข้อเสียของการเพาะด้วยฟองน้ำต้องทำอย่างถูกต้องเพื่อจะทำ
ให้งอกได้ง่าย จากรูปด้านบน ของฟองน้ำ เมล็ดอยู่ตรงกลางฟองน้ำ กดลงไปนิดเดียว
เมื่องอกให้ใบโดนแดดทันที กันไม่ให้เมล็ดงอกผิดทิศ และกันเมล็ดเน่า ความยากของ
ฟองน้ำอีกอย่างหนึ่งคือการรักษาความชื้นในฟองน้ำในจังหวะการงอก โดยไม่ชื้นมาก
ไป ไม่น้อยไป เมื่อเมล็ดงอกก็ให้ลดความชื้นลง ให้เน้นไปที่ระบบราก โดยพยายาม
ให้รากทะลุลงด้านลาง ( ฟองน้ำต้องเจาะให้ทะลุแต่แรก ) ถ้าฟองน้ำหนาไปทำให้ ต้อง
อนุบาลนานขึ้นทำให้เป็นต้นทุ่นต่อการผลิต
ปล.ต้องฝึกฝนนะครับ จะเพาะได้อย่างถูกต้อง
ราคาผักไฮโดรโปนิกส์หน้าหนาว hydroponics price winter
price winter hydroponics vegetable
พอหน้าหนาวผักไฮโดรโปนิกส์ จะสามารถปลูกได้ดี ทั้งน้ำหนักและคุณภาพจะดีขึ้น
ทำให้กำลังผลิตต่อฟาร์มเพิ่มขึ้น 20-30-40 % จากเดิม และปริมาณผักชนิดอื่นที่ปลูกบนดิน
ก็มีปริมาณมากขึ้นด้วย ทำให้มีผักล้นตลาดได้ในบางจังหวะของการปลูก ทำให้เป็นไปตามหลัก
การตลาด ราคาผักไฮโดรโปนิกส์จะลดลงจากเดิมด้วย ทำให้ปลูกดีขึ้นแต่เงินไม่ได้มากกว่าเดิม
เท่าไร การแก้ปัญหานี้ขึ้นกับการวางแผนของฟาร์มในการผลิตผักว่าควรปลูกพันธ์ไหน
ที่เหมาะกับฤดูกาล เพื่อให้ได้ราคา และรูปแบบการขาย ผักส่วนเกินออกไปให้ได้ราคาโดย
ไม่ดึงราคาผักโดยรวมลงตามมาด้วย
ปล. ต้องปรับเปลียนตามสถานะการณ์ แต่ถ้าหน้าหนาวผักต้นเล็กอยู่ก็ต้องฝึกฝนต่อนะครับ
พอหน้าหนาวผักไฮโดรโปนิกส์ จะสามารถปลูกได้ดี ทั้งน้ำหนักและคุณภาพจะดีขึ้น
ทำให้กำลังผลิตต่อฟาร์มเพิ่มขึ้น 20-30-40 % จากเดิม และปริมาณผักชนิดอื่นที่ปลูกบนดิน
ก็มีปริมาณมากขึ้นด้วย ทำให้มีผักล้นตลาดได้ในบางจังหวะของการปลูก ทำให้เป็นไปตามหลัก
การตลาด ราคาผักไฮโดรโปนิกส์จะลดลงจากเดิมด้วย ทำให้ปลูกดีขึ้นแต่เงินไม่ได้มากกว่าเดิม
เท่าไร การแก้ปัญหานี้ขึ้นกับการวางแผนของฟาร์มในการผลิตผักว่าควรปลูกพันธ์ไหน
ที่เหมาะกับฤดูกาล เพื่อให้ได้ราคา และรูปแบบการขาย ผักส่วนเกินออกไปให้ได้ราคาโดย
ไม่ดึงราคาผักโดยรวมลงตามมาด้วย
ปล. ต้องปรับเปลียนตามสถานะการณ์ แต่ถ้าหน้าหนาวผักต้นเล็กอยู่ก็ต้องฝึกฝนต่อนะครับ
Wednesday, January 9, 2013
Sunday, January 6, 2013
อายุการเก็บเกี่ยวของผักชนิดต่างๆ Harvesting of vegetables
สาเหตุที่ต้องรู้อายุเก็บเกี่่ยวของผัก เพื่อสามารถวางแผนการปลูกผัก สำหรับการจัดการ
ระบบการปลูก เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด กำหนดราคาตามฤดูกาล ตามสถานะกาล
ระบบการปลูก เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด กำหนดราคาตามฤดูกาล ตามสถานะกาล
กลุ่มผัก | ผักในกลุ่ม | อายุเก็บเกี่ยว นับจากวันเพาะเมล็ด(วัน) | อายุเก็บเกี่ยว นับจากย้ายลงแปลงปลูก(วัน) |
ผัดสลัด | กรีนโอ๊ค บัตเตอร์เฮด กรีนคอส | 35-40 | 28-30 |
เรดโอ๊ค เรดคอรัล | 35-45 | 30-35 | |
มิซูน่า | 27-30 | 20-25 | |
ผักคะน้า | คะน้าฮ่องกง คะน้าเห็ดหอม | 32-35 | 25-30 |
ผักกาดขาว | ผักกาดขาวไดโตเกียว | 30 | 22-25 |
ผักกวางตุ้ง | กวางตุ้ง ฮ่องเต้ | 30-35 | 22-25 |
ทาห์ไช่ (ทาห์ซอยส์) | 32-35 | 25 | |
ผักโขม | โขมขาว โขมแดง | 24-25 | 17-18 |
ผักบุ้ง | ผักบุ้งจีน | 20-21 | 14-15 |
อายุการเก็บเกี่ยว และค่า EC ที่เหมาะสม
•สลัด อายุ 40-45 วัน / ค่า EC 1.2-1.8
•คะน้าเห็ดหอม อายุ 30-35 วัน / ค่า EC 4.5
•คะน้าฮ่องกง อายุ 30-35 วัน / ค่า EC 4.5
•กวางตุ้งฮ่องเต้ อายุ 30-35 วัน / ค่า EC 3-4
•ผักชี ผักคื่นช่าย อายุ 30-35 วัน / ค่า EC 3-3.5
•ผักกาดขาว ไดโตเกี่ยว อายุ 25 วัน / ค่า EC 3-3.5
•สลัดมิซุน่า อายุ 22-25 วัน / ค่า EC 2-2.5
•ทาห์ช่าย กวางตุ้ง โชว์จีน อายุ 25 วัน / ค่า EC 3-3.5
•ผักโขม อายุ 16-20 วัน / ค่า EC 1.5-1.8
•ผักบุ้ง อายุ 12-16 วัน / ค่า EC 1.5-2
Saturday, January 5, 2013
ผักสลัดไฮโดรโปนิกส์ winter hydroponics
ฟาร์มโดยสวนใหญ่จะปลูกได้ต้นใหญ่ในช่วงหน้าหนาว ก็เอามาให้ดูว่าใหญ่ขึ้นมาก
โดยไม่ได้ทำไรแตกต่างจากฤดูกาลอื่นเลย ทำให้ฟาร์มมีกำลังใจปลูกผักต่อไป
Subscribe to:
Posts (Atom)